Page 31 - Ceta Worldwide Education Australian School Guide 2020
P. 31
มีกระแสตอบรับอย่างไรบ้างจากผู้ปกครอง
เราได้รับกระแสตอบรับที่ดีเป็นอย่างมากจากผู้ปกครองทั้งหลาย
เมื่อพูดถึงรูปแบบการเรียนเชิงขนาน ในการบทวิจารณ์ผู้ปกครองปี 2017 ของ
เรา เราได้บรรลุเกินความคาดหมายโดยรวมต่างๆจาก 90% ของผู้ปกครอง
ของนักเรียนโรงเรียนของเรา โดยจะสังเกตได้ว่าคุณภาพ 5 ข้อสูงสุดส�าหรับ
ผู้ปกครองคือ คุณภาพในการสอน การใส่ใจในความเป็นอยู่ของนักเรียน การ
ศึกษาที่สมดุล มาตรฐานทางวิชาการ และ ขนาดห้องเรียน ซึ่งทั้งหมดนี้เป็น
สิ่งที่เราเชื่อว่ามาจากอิทธิพลของการน�ารูปแบบการเรียนเชิงขนานมาใช้
ด้วยรูปแบบการเรียนเชิงขนานของโรงเรียนทินเทิร์น ครอบครัว
ต่างๆก็จะสามารถน�าบุตรหลานเข้ามาเรียนในสภาพแวดล้อมแบบเฉพาะ
เพศได้ โดยคนเป็นพี่น้องกันนั้นก็สามารถเข้าเรียนในโรงเรียนเดียวกันและ
เป็นส่วนหนึ่งในชุมชนเดียวกันได้ด้วย ผู้ปกครองหลายคนเลยมองจุดนี้เป็น
คุณลักษณะที่น่าสนใจมาก
ซาราห์ แดส (Sarah Dass) – แม่ของนักเรียนที่มีลูกสามคนซึ่ง
อายุห่างกันระหว่าง 8 ถึง 13 ปี ได้ลงนิตยสาร Factis ของโรงเรียน เธอบอก
ว่าประโยชน์ที่คุ้มค่าที่สุดส�าหรับเธอของรูปแบบการเรียนนี้ คือการที่เธอ
สามารถส่งลูกไปเรียนโรงเรียนเดียวกันและรู้ว่าแม้การเรียนของแต่ละคน
จะต่างกัน แต่ก็จะได้รับการอบรมคุณธรรมที่เหมือนกัน นี่คือสิ่งที่เธอกล่าว
“โดยพื้นฐานแล้ว เด็กทุกคนจะได้รับการศึกษาภายใต้ร่มใบ
เดียวกัน ซึ่งหลักสูตรของพวกเขาจะถูกปรับปรุงให้เข้ากับเพศสภาพ ฉัน
ชอบที่มันเป็นหลักการพื้นฐานของโรงเรียนและการที่พวกเขาได้รับการ
เรียนการสอนที่เหมาะกับเพศสภาพตัวเอง สิ่งหนึ่งที่ฉันสังเกตได้คือเด็ก
ผู้ชายจะเรียนรู้ด้วยการลงมือท�าและพวกเขาก็มักจะมีกิจกรรมที่เน้นไป
ทางร่างกายมากกว่าในแต่ละวันอีกด้วย
ถ้าคุณเดินเข้าไปในโรงเรียนหญิงล้วน มันก็จะดูมีระเบียบขึ้น ผู้หญิงจะใช้
ชีวิตอยู่ได้ในสภาพแวดล้อมที่พวกเขาสามารถเป็นตัวเองได้ สามารถเรียก
ร้องได้ มีระบบมีโครงสร้าง แต่พวกเขาก็ยังจะพร้อมเสี่ยงกับการเรียนรู้และ
ขอบเขตของครูอาจารย์ของพวกเขา ซึ่งพื้นที่การเรียนรู้นั้นจะถูกก�าหนด
โดยความชื่นชอบของผู้หญิง”
เชิงอรรถ
1. Raznahan et al, (2010) Longitudinally mapping the influence of sex and androgen signaling on the dynamics of
human cortical maturation in adolescence PNAS Vol. 107, no. 39 pp. 16988-16993
2. Sax, L (2006) ‘Six Degrees of Separation: What Teachers Need to Know About the Emerging Science of Sex
Differences’. Educational Horizons: Spring 2006. Pages 190-200
3. Mael, F.R. (1998). Single Sex and Coeducational Schooling: Relationships to Socioemotional and Academic De-
velopment. Review of Educational Research. 68(2). pp. 101-129
4. Raznahan et al, (2010) Longitudinally mapping the influence of sex and androgen signaling on the dynamics of
human cortical maturation in adolescence PNAS Vol. 107, no. 39 pp. 16988-16993
CETA AUSTRALIAN SCHOOL GUIDE 2020 l 31