Page 80 - Ceta Worldwide Education Australian School Guide 2020
P. 80

pRE DEpARTURE



        for pArENTS                                                  วัยที่เหมาะสมกับการไปเรียนต่อต่างประเทศ



                                                                            ตามหลักพัฒนาการแล้ว เด็กสามารถเรียนรู้ภาษาที่สองได้ดีตั้งแต่
                                                                     แรกเกิดถึง 10 ปี แต่หลังจากนั้นก็ยังเรียนรู้ได้นะคะ ส่วนเรื่องของการปรับตัว
                                                                     นั้น ขึ้นอยู่กับพื้นฐานอารมณ์ของเด็กควบคู่กับประสบการณ์ที่เด็กได้รับ ถ้า
                                                                     เด็กอยู่ต่างประเทศแล้วได้รับการดูแลที่เหมาะสม ได้พบประสบการณ์ที่เอื้อ
                                                                     ต่อการเรียนรู้ของเด็ก ก็จะสามารถปรับตัวได้ดี ดังนั้นวัยที่เหมาะสมกับเด็ก
                                                                     จึงขึ้นกับทั้งเหตุผลจากในเรื่องของความพร้อมของเด็กแต่ละคนที่ได้กล่าว
                                                                     ไว้ในข้างต้นและข้อนี้รวมกันค่ะ

                                                                     ระยะเวลาในการปรับตัวของเด็ก
                                                                     ต่อสภาพแวดล้อมใหม่ๆ

                                                                            เด็กควรปรับตัวได้ภายใน 1 เดือน การปรับตัวนี้หมายถึง
                                                                     สามารถท�างานของตนเองที่ต้องท�าได้ ถึงแม้จะยังมีอารมณ์เหงาเป็นพักๆ
                                                                     ก็ตาม ถ้าเกิน 1 เดือนแล้วยังไม่สามารถจัดการอะไรต่างๆ ได้ มีอารมณ์เหงา
                                                                     เศร้าตลอดเวลา ก็ควรได้รับการดูแลช่วยเหลือแนะน�าจากทางโรงเรียน และ
                                                                     Counsellor เพื่อหาทางแก้ไข

                                                                     การช่วยเหลือและให้ก�าลังใจลูก

                                                                            ก่อนเดินทางควรให้ก�าลังใจว่าลูกท�าได้ และมีคุณพ่อคุณแม่
                                                                     ที่รักและพร้อมที่จะช่วยเหลือเสมอ ไม่ทิ้งแน่นอน รวมทั้งให้ค�าปรึกษาและ
                                                                     ศึกษาข้อมูลประเทศที่จะไป ช่วยวางแผนล่วงหน้าว่าจะเกิดอะไรขึ้นได้บ้าง
                                                                     และควรแก้ปัญหาอย่างไร
                                                                            ระหว่างที่ลูกอยู่ต่างประเทศ ควรติดต่อสื่อสาร ให้ก�าลังใจเป็นที่
                                                                     ปรึกษาและช่วยเหลือปัญหา นอกจากจะพูดเสริมก�าลังใจแล้ว ต้องสื่อให้ลูก
                                                                     รู้ว่าคุณพ่อคุณแม่รักและภูมิใจในตัวลูก ท�าให้ลูกอยากดูแลตัวเองและท�าให้
                                                                     คุณพ่อคุณแม่ภูมิใจ
               Interview พญ. วิมลรัตน์ วันเพ็ญ
                      รองผูอํานวยการฝายการแพทย
                  สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุนราชนครินทร           ควรท�าอย่างไรเมื่อคิดถึงลูก
                                                                            ข้อนี้เป็นข้อที่ส�าคัญค่ะ บ่อยครั้งที่คุณพ่อคุณแม่จะเป็นฝ่ายที่ปรับ
         ความพร้อมของเด็กขึ้นกับหลายอย่าง เช่น                       ตัวไม่ได้ โดยเฉพาะคุณแม่ที่เป็นคุณแม่บ้าน ดังนั้น นอกจากเตรียมพร้อม
         •  วัฒนธรรมในบ้าน บ้านที่ลูกหลานไปเรียนต่อต่างประเทศกันหลายคน   ให้ลูกแล้ว ต้องเตรียมใจคุณพ่อคุณแม่ด้วย โดยต้องเตรียมตั้งแต่ก่อนส่งลูก
            ลูกเราก็คงไม่เห็นเป็นเรื่องแปลกอะไร และอาจอยากไปตามญาติๆ  ไป ต้องมีตารางกิจกรรมชีวิตใหม่ หากิจกรรมอื่นมาชดเชยและท�ากิจกรรม
         •  การวางเป้าหมายให้กับลูก บางบ้านตั้งใจว่าส่งลูกเรียนต่างประเทศแน่นอน   ต่างๆ โดยไม่มีลูกร่วมด้วยบ้าง จะได้ชินเมื่อลูกไม่อยู่ค่ะ
            ลูกก็จะได้รับการปูพื้นฐานทักษะที่จ�าเป็นมาระดับหนึ่ง ซึ่งเอื้อต่อความ
            พร้อมที่จะไปเรียนต่อต่างประเทศ                           การสร้างความสัมพันธ์เมื่อต้องอยู่ห่างลูก
         •  การเลี้ยงดู หากเด็กได้รับการส่งเสริมให้ช่วยเหลือตัวเองได้เหมาะสมตาม
            วัย จะรู้จักปรับตัว รู้จักแก้ไขปัญหา และมีความพร้อมที่ดี        ทุกคนต้องรู้จักหน้าที่ของตัวเอง เช่น ลูกต้องเรียนและปรับตัว
         •  พื้นฐานทางอารมณ์ของเด็ก โดยธรรมชาติแล้วเด็กเกิดมามีอารมณ์ติดตัวแต่  ให้ได้ คุณพ่อคุณแม่ก็ต้องท�างานของตัวเอง มีงานอดิเรก มีความสุขกับการ
            ก�าเนิด ถ้าเป็นพื้นฐานทางอารมณ์ที่เลี้ยงง่าย เด็กจะปรับตัวง่าย   ด�าเนินชีวิตของตนเอง ซึ่งจะท�าให้มีความสุขและไม่หมกมุ่นหรือทุกข์กับ
            อารมณ์ดี รับการเปลี่ยนแปลงได้ดี แต่ถ้าเป็นพื้นฐานทางอารมณ์ที่เลี้ยงยาก  การที่ลูกไม่อยู่ด้วยความสัมพันธ์ที่แข็งแรงอยู่ที่ความสม�่าเสมอ เมื่อปรับตัว
            หรือขี้อาย ก็จะปรับตัวกับสิ่งใหม่ๆ ได้ยากกว่า            กันได้แล้ว ก็ควรที่จะมีการติดต่อสื่อสารกันอย่างสม�่าเสมอ อาจห่างขึ้นบ้าง
         •  ดังนั้น เราจะทราบว่าลูกพร้อมเมื่อไหร่ก็คงต้องดูที่ลูกเป็นหลักว่าลูก  แต่ก็ยังต้องสม�่าเสมอ เพื่อยังเป็นช่องทางที่เชื่อมความรู้สึกและความอบอุ่น
            สามารถดูแลตัวเองได้โดยที่คุณพ่อคุณแม่อยู่ไกลๆ ได้หรือไม่ มีภาวะทาง  ใจถึงกันค่ะ
            จิตใจที่พร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงหรือไม่


        80  l CETA AUSTRALIAN SCHOOL GUIDE 2020
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85